บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ตุลาคม, 2021

ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 15

  ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 1 5 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ ( Online Learning Management System) วันที่  30  กันยายน 25 64            1.  ส มาชิกในกลุ่มได้มีการประชุม ทำงานออนไลน์ ผ่าน  Google Meet  เพื่อ เพิ่มเนื้อหาของข้อมูลในส่วนต่าง ๆ ในระบบ  https://smp.yru.ac.th/    โดยในครั้งนี้มีการจัดทำแบบทดสอบแบบทดสอบก่อนเรียน ( Pretest)   และแบบทดสอบหลังเรียน ( Pretest)    ให้ความสมบูรณ์มากขึ้น และสุดท้ายได้มี การพูดคุยบทที่ 5 สรุป และข้อเสนอแนะ บรรณานุกรมและภาคผนวก โดยการแบ่งหน้าที่ทำงานร่วมกัน ซึ่งในการแบ่งคนละ 1 หัวข้อ เพื่อเกิดการทำงานรวดเร็วและอย่างระเบียบเรียบร้อย 

ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 14

รูปภาพ
  ผลการเรียนรู้ครั้งที่    14 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Onlile Lermimg Management System) วันที่ 23 กันยายน 25 64            ส มาชิกในกลุ่มได้มีการประชุม และทำงานออนไลน์ ผ่าน  Google Meet  เพื่อ เพิ่มเนื้อหาข้อมูลในส่วนต่าง ๆ ในระบบ  https://smp.yru.ac.th/  และ แบ่งหหน้าที่ให้แต่ละคน ได้มี การ เพิ่มข้อมูลเพิมเติมลงระบบได้อย่างอิสระที่ตัวเองเลือกในหัวข้อตัวเอง โดยแบ่งคนละ  1  หัวข้อ ซึ่งในการเพิ่มเนื้อหาของข้อมูล ไม่ว่าจะเป็น เพิ่มกิจกรรมหรือแหล่งข้อมูลสามารถ ทั้งที่เป็นข้อมูล เอกสารประกอบการสอน  คลิปวีดีโอการสอนเพิ่มเติมในกาเรียนต่าง ๆ รวมทั้งการเพิ่มกิจกรรมประเมินผล เช่น  ใบงานและแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน            3. หลังจากสมาชิกในกลุ่มได้จัดทำระบบอีเลิร์นนิ่ง ในระบบ   https://smp.yru.ac.th/    เสร็จสมบูรณ์ ก็จัดทำในรูปเล่มเอกสาร รายงานการศึกษาโครงงาน เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง แนวคิดเชิงคำนวณ วิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)  ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2

ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 13

รูปภาพ
  ผลการเรียนรู้ครั้งที่    13 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Onlile Lermimg Management System) 16 กันยายน 2564      กิจกรรมการเรียนการสอนมี ดังนี้ 1. ให้นักศึกษาทุกคนเข้าห้อง  Google Meet  เวลา   0 9.30  น. 2. ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มนำเสนอ โครงงานบทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้องและ บทที่ 3 วิธีการดำเนินการศึกษา   ซึ่งมีทั้งหมด 7 กลุ่ม นำเสนอตามลำดับ ดังนี้ โดยแต่ละกลุ่มมีหัวข้อนำเสนอ ดังต่อไปนี้      กลุ่มที่ 7 เรื่อง การ พัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่องประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิชา วิทยาการคำนวณ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3      กลุ่มที่ 3 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัย วิชา วิทยาการคำนวณ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6      กลุ่มที่ 5 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4      กลุ่มที่ 4 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง องค์ประกอบหลักการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2      กลุ่มที่ 1 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอ

ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 12

รูปภาพ
  ผลการเรียนรู้ครั้งที่  12 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Onlile Lermimg Management System)                 สมาชิกในกลุ่มได้มีการประชุม นัดรวมกันทำงานออนไลน์ ผ่าน Google Meet เพื่อ เพิ่มข้อมูลในส่วนต่าง ๆ ในระบบ SMP.YRU โดยมีการแบ่งหหน้าที่ให้แต่ละคนไปหาข้อมูลในส่วนของตัวเอง และเพิ่มข้อมูลลงระบบได้อย่างอิสระ ซึ่งแบ่งให้คนละ 1 หัวข้อ แต่ละคนสามารถเพิ่มข้อมูล ทรัพยากรการเรียนรู้ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น เอกสารประกอบการสอน พาเวอร์พอยต์ หรือคลิปวีดีโอการสอนต่าง ๆ อีกทั้งการเพิ่มกิจกรรมและการประเมินผล ทั้งแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน และการมอบหมายงานต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้มากที่สุด                สุดท้ายทุกคนร่วมกันทำพาเวอร์พอยต์เพื่อจะนำเสนอในส่วนของบทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง และบทที่ 3 วิธีการดำเนินการศึกษา ในสัปดาห์ที่จะถึงนี้

ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 11

รูปภาพ
ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 11 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Onlile Lermimg Management System)           สมาชิกในกลุ่มได้มีการประชุมนัดรวมกันทำงานออนไลน์ ผ่าน Google Meet เพื่อทำโครงงานต่อในส่วนบทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้อง และบทที่ 3 วิธีการดำเนินการศึกษา ให้เสร็จสมบูรณ์พร้อมนำเสนอในสัปดาห์ถัดไป ซึ่งหัวข้อในบทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้อง มีดังต่อไปนี้         1. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอน 1.1 ความหมายของการเรียนการสอน 1.2 ความหมายของการจัดการเรียนรู้ 1.3 ทฤษฎีระบบการเรียนการสอน 2. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ออนไลน์  2.1 ระบบการเรียนการสอนออนไลน์ 2.2 นวัตกรรมการเรียนรู้ออนไลน์และตัวอย่าง 3. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับระบบอีเลิร์นนิง 3.1 นิยามระบบอีเลิร์นนิง 3.2 รูปแบบอีเลิร์นนิ่ง 3.3 องค์ประกอบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง 3.4 ข้อดีและข้อจํากัดของการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง 4.  เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง 4.1 การออกแบบการเรียนการสอน 4.2 การออกแบบการเรียนการสอน : ADDIE Model 5. เอก

ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 10

รูปภาพ
ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 10 วันที่ 26 สิงหาคม 2564           - เตรียมข้อสอบแบบตัวเลือก (ก.ข.ค.ง.) คนละ 5 ข้อ แบบถูกผิดคนละ 5 ข้อ ซึ่งสัปดาห์นี้อาจารย์ได้ขอสอนปฏิบัติพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง ในวันที่ 2 กันยายน 2564 อาจารย์ติดภารกิจ จะได้มีทักษะไปปฏิบัติพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง           - อาจารย์เริ่มสอนปฏิบัติการสาธิตผ่านเว็บไซต์ เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาเข้าใจในการทำงานเกี่ยวกับการพัฒนาบทเรียน E- learning และรู้จักเครื่องมือการใช้งานเบื้องต้น

ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 9

รูปภาพ
ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 9 วันที่ 19 สิงหาคม 2564           อาจารย์ได้มอบหมายให้นักศึกษาทดทวนความรู้และทำแบบทดสอบก่อนเรียนบบที่4จากนั้นอาจารย์ อธิบายการใช้งาน Science Mathematics Program (SMP) YRU ซึ่งแต่ละการทำงานก็จะมีการทำงานที่แตกต่างกัน และแต่ละทำหน้าที่ก็จะมีหน้าที่ต่างกัน เช่น การแก้ไขการตั้งค่า เริ่มการแก้ไขในหน้านี้ Course completion เป็นต้น           ในการอธิบายการอธิบายการใช้งาน Science Mathematics Program (SMP) YRU เพื่อนำไปการศึกษาโครงงาน เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่งการเปลี่ยนแแปลงของเทคโนโลยี วิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ในกลุ่มของตัวเอง เพื่อเกิดประโยชน์สูงสุด

ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 8

รูปภาพ
ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 8 วันที่ 12 สิงหาคม 2564 วันแม่แห่งชาติ           เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 7

รูปภาพ
ผลการเรียนรู้ ครั้งที่7 วันที่ 5 สิงหาคม 2564                     อาจารย์ได้ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่ม นำเสนอโครงงาน ซึ่งมีหัวข้อย่อย ๆ ได้แก่ ความสำคัญ และความเป็นมา วัตถุประสงค์ ขอบเขตการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ รโดยมีทั้งหมด 6 กลุ่ม นำเสนอตามลำดับตามอาจารย์กำหนดไว้ หัวข้อในแต่ละกลุ่มได้นำเสนอ มีดังนี้ กลุ่ม 1 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง แนวคิดเชิงคำนวณ รายวิชา เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่ม 2 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่งการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี วิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่ม 3 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัย วิชา วิทยาการคำนวณ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่ม 4 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง องค์ประกอบหลักการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่ม 5 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่ม 6 เรื่อง การ

ผลการเรียนรู้ครั้งที่6

รูปภาพ
ผลการเรียนรู้ครั้งที่6 วันที่ 29 กรกฎาคม 2564                การเรียนการสอนได้ทำการเรียนในห้องเรียน ซึ่งในสัปดาห์ก่อนหน้านี้อาจารย์ได้มอบหมายงานให้ไปศึกษาโครงงานที่เราจะทำหรือโครงงาน(งานกลุ่ม)และคาบเรียนได้ทำแบบฝึกหัดก่อนเรียนและได้ทดสอบโดยใช้ kahoot อาจารย์ได้สอนคู่มือ และการใช้งานบน smp.yru.ac.th เพื่อให้เราสามารถนำไปใช้ในการทำโครงงาน หรือนำความรู้นั้นต่อยอดในการทำโครงงาน                การออกแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง การออกแบบอีเลิร์นนิงเริ่มจากการออกแบบการเรียนการสอน การออกแบบการเรียนการสอน : ADDIE Model และการออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง                การออกแบบการเรียนการสอน (Instructional design) ความหมายของการออกแบบ เป็นการถ่ายทอดรูปแบบจากความคิดออกมาเป็นผลงานที่ผู้อื่สามารถมองเห็น รับรู้ หรือสัมผัสได้ การออกแบบต้องใช้ศาสตร์แห่งความคิดและศิลป์ร่วมกัน เพื่อสร้างสรรค์สิ่ใหม่ หรือปรับปรุงพัฒนาสิ่งเดิมให้ดีขึ้น มีการใช้การออกแบบในทุก ๆ ด้าน เช่นการออกแบบสินค้า การออกแบบโฆษณาประชาสัมพันธ์ รวมถึงการออกแบบการเรียนการสอน การออกแบบการเรียนการส

ผลการเรียนรู้ครั้งที่5

รูปภาพ
 ผลการเรียนรู้ครั้งที่5 วันที่ 22 กรกฎาคม 2564  

ผลการเรียนรู้ครั้งที่4

รูปภาพ
ผลการเรียนรู้ครั้งที่4 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์  บทที่ 3  อีเลิร์นนิ่ง หมายถึง รูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเพื่อถ่ายทอดเนื้อหาหรือความรู้ การจัดการเรียนการสอนด้วยอีเลิร์นนิ่ง มีองค์ประกอบสำคัญ ได้แก่ ใช้ความสามารถของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในการจัดการเรียนการสอน ใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีของอินเตอร์เน็ตเป็นเครื่องมือ และสามารถนำไปใช้ในการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ ข้อดีของอีเลิร์นนิ่ง ได้แก่ ความสะดวกสบาย , ความสัมพันธ์กับปัจจุบัน , ความเร็วแบบทันทีทันใด , ความเป็นเลิศของระบบ , การมีปฏิสัมพันธ์ , ความเป็นสหวิชาการ   ข้อจำกัดของอีเลิร์นนิ่ง ได้แก่ การเรียนออนไลน์มีข้อจำกัดการให้ผลสะท้อนกลับ , อีเลิร์นนิ่งทำให้ผู้เรียนอยู่ในสังคมแบบโดดเดี่ยวได้ , อีเลิร์นนิ่งต้องสร้างแรงจูงใจภายในและมีทักษะจัดการเวลา , ผู้เรียนออนไลน์ขาดการพัฒนาทักษะการสื่อสาร       ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ ( Learning Management System) เนื่องจากการเรียนแบบออนไลน์หรือ  e-learning  นั้นเป็นการเรียนที่สนับสนุนให้ผู้เรียนได้ศึกษา เรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง ระบบบริหารการเรียนที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลาง กำ

ผลการเรียนรู้ครั้งที่3

รูปภาพ
  ผลการเรียนรู้ครั้งที่3 วันที่8กรกฎาคม254 1.ทบทวนเนื้อหาบทที่ 1 ระบบการจัดการเรียนรู้ออลไลน์  2.ทำแบบทดสอบก่อนเรียน บทที่2 ระบบการจัดการเรียนรู้ออลไลน์ 3.ทบทวนบทเรียน บทที่1โดยใช้ kahoot เพื่อสะสมแต้มในการเล่นเกม  4.เข้าเรียนโดยใช้ zoomในการศึกษา ระบบการจัดการเรียนรู้ออลไลน์      การจัดการเรียนการสอนตามแนว Constructivism การเรียนการสอนเน้นกระบวนการที่นักเรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเองเป็นสำคัญ ครูผู้สอนจะเป็นเพียงผู้ทำหน้าที่จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้ศึกษาด้วยตนเองมากกว่าที่จะเป็นผู้บอกเล่าให้นักเรียนจดจำ           เงื่อนไขของ Constructivism       1.การเรียนรู้เป็น Active Process ที่เกิดขึ้นเฉพาะตัวบุคคล การสอนโดยวิธีบอกเล่าเป็นแบบ Passive Process ไม่ช่วยให้เกิดการพัฒนาแนวคิดหลักมากนัก      2.ความรู้ต่างๆ จะถูกสร้างขึ้นด้วยตัวของนักเรียนเอง โดยใช้ข้อมูลที่ได้รับมาใหม่กับข้อมูลเก่าหรือความรู้ที่มีอยู่แล้วจากแหล่งต่างๆ มาเป็นเกณฑ์ช่วยในการตัดสินใจ       3.ความรู้และความเชื่อของแต่ละคนจะต่างกันขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อม ขนบธรรมเนียมประเพณี และสิ่งที่นักเรียนได้พบเห็น ซึ่งจะถูกใช้เป็นพื้นฐานในการต