บทความ

ประเพณีการเข้าสุหนัต

รูปภาพ
  ประเพณีการเข้าสุหนัต (มาโซะยาวี)      ประวัติ / ความเป็นมา             การเข้าสุหนัต หรือมาโซะยาวี เป็นประเพณีการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Circumscission)        ซึ่งชาวมุสลิมทุกคนต้องถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด             มาโซะยาวี เป็นภาษาถิ่นมลายู หมายถึง การขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพศ (มาโซะ = ตัด, ยาวี รหือยาวา หมายถึง ชาวชวาที่นำเอาศาสนาอิสลามมาเผยแพร่ครั้งรก ณ เมืองปัตตานี ยาวีจึงมีความหมายกว้าง หมายถึง มุสลิม รวมความแล้ว มาโซะยาวี หมายถึง การตัดหรือขลิบอวัยวะเพศ เพื่อเป็นมุสลิม) การขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพส เป็นสิ่งที่ท่านศาสดาทั้งปฏิบัติ และให้ปฏิบัติ ในสังคมชาวไทยมุสลิมจึงนิยมเรียกการปฏิบัตินี้ว่าการเข้าสุหนัตแทนการใช้ศัพท์จากภาษาอาหรับ ซึ่งเรียกการขลิบนี้ว่า “คอตัน” ส่วนภาษามลายูใช้ศัพท์คำว่า “มาโซะยาวี”         ชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ไม่นิยมทำการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพสในทารพ หรือเด็กเล็ก จึงมักทำเมื่อเด็กโตขึ้น อายุประมาณ 7-10 ขวบขึ้นไป ตามหลักแล้วศาสนาอิสลามส่งเสริมให้ชาวมุสลิมเข้าสุหนัต แต่ก็ไม่ได้บังคับใครจะทำหรือไม่ทำก็ได้ แต่ถ้าไม่ทำก็ถือว่าเป็นมุสลิมไม่สมบูร

ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 15

  ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 1 5 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ ( Online Learning Management System) วันที่  30  กันยายน 25 64            1.  ส มาชิกในกลุ่มได้มีการประชุม ทำงานออนไลน์ ผ่าน  Google Meet  เพื่อ เพิ่มเนื้อหาของข้อมูลในส่วนต่าง ๆ ในระบบ  https://smp.yru.ac.th/    โดยในครั้งนี้มีการจัดทำแบบทดสอบแบบทดสอบก่อนเรียน ( Pretest)   และแบบทดสอบหลังเรียน ( Pretest)    ให้ความสมบูรณ์มากขึ้น และสุดท้ายได้มี การพูดคุยบทที่ 5 สรุป และข้อเสนอแนะ บรรณานุกรมและภาคผนวก โดยการแบ่งหน้าที่ทำงานร่วมกัน ซึ่งในการแบ่งคนละ 1 หัวข้อ เพื่อเกิดการทำงานรวดเร็วและอย่างระเบียบเรียบร้อย 

ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 14

รูปภาพ
  ผลการเรียนรู้ครั้งที่    14 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Onlile Lermimg Management System) วันที่ 23 กันยายน 25 64            ส มาชิกในกลุ่มได้มีการประชุม และทำงานออนไลน์ ผ่าน  Google Meet  เพื่อ เพิ่มเนื้อหาข้อมูลในส่วนต่าง ๆ ในระบบ  https://smp.yru.ac.th/  และ แบ่งหหน้าที่ให้แต่ละคน ได้มี การ เพิ่มข้อมูลเพิมเติมลงระบบได้อย่างอิสระที่ตัวเองเลือกในหัวข้อตัวเอง โดยแบ่งคนละ  1  หัวข้อ ซึ่งในการเพิ่มเนื้อหาของข้อมูล ไม่ว่าจะเป็น เพิ่มกิจกรรมหรือแหล่งข้อมูลสามารถ ทั้งที่เป็นข้อมูล เอกสารประกอบการสอน  คลิปวีดีโอการสอนเพิ่มเติมในกาเรียนต่าง ๆ รวมทั้งการเพิ่มกิจกรรมประเมินผล เช่น  ใบงานและแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน            3. หลังจากสมาชิกในกลุ่มได้จัดทำระบบอีเลิร์นนิ่ง ในระบบ   https://smp.yru.ac.th/    เสร็จสมบูรณ์ ก็จัดทำในรูปเล่มเอกสาร รายงานการศึกษาโครงงาน เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง แนวคิดเชิงคำนวณ วิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)  ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2

ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 13

รูปภาพ
  ผลการเรียนรู้ครั้งที่    13 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Onlile Lermimg Management System) 16 กันยายน 2564      กิจกรรมการเรียนการสอนมี ดังนี้ 1. ให้นักศึกษาทุกคนเข้าห้อง  Google Meet  เวลา   0 9.30  น. 2. ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มนำเสนอ โครงงานบทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้องและ บทที่ 3 วิธีการดำเนินการศึกษา   ซึ่งมีทั้งหมด 7 กลุ่ม นำเสนอตามลำดับ ดังนี้ โดยแต่ละกลุ่มมีหัวข้อนำเสนอ ดังต่อไปนี้      กลุ่มที่ 7 เรื่อง การ พัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่องประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิชา วิทยาการคำนวณ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3      กลุ่มที่ 3 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัย วิชา วิทยาการคำนวณ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6      กลุ่มที่ 5 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4      กลุ่มที่ 4 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง องค์ประกอบหลักการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2      กลุ่มที่ 1 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอ

ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 12

รูปภาพ
  ผลการเรียนรู้ครั้งที่  12 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Onlile Lermimg Management System)                 สมาชิกในกลุ่มได้มีการประชุม นัดรวมกันทำงานออนไลน์ ผ่าน Google Meet เพื่อ เพิ่มข้อมูลในส่วนต่าง ๆ ในระบบ SMP.YRU โดยมีการแบ่งหหน้าที่ให้แต่ละคนไปหาข้อมูลในส่วนของตัวเอง และเพิ่มข้อมูลลงระบบได้อย่างอิสระ ซึ่งแบ่งให้คนละ 1 หัวข้อ แต่ละคนสามารถเพิ่มข้อมูล ทรัพยากรการเรียนรู้ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น เอกสารประกอบการสอน พาเวอร์พอยต์ หรือคลิปวีดีโอการสอนต่าง ๆ อีกทั้งการเพิ่มกิจกรรมและการประเมินผล ทั้งแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน และการมอบหมายงานต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้มากที่สุด                สุดท้ายทุกคนร่วมกันทำพาเวอร์พอยต์เพื่อจะนำเสนอในส่วนของบทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง และบทที่ 3 วิธีการดำเนินการศึกษา ในสัปดาห์ที่จะถึงนี้

ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 11

รูปภาพ
ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 11 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Onlile Lermimg Management System)           สมาชิกในกลุ่มได้มีการประชุมนัดรวมกันทำงานออนไลน์ ผ่าน Google Meet เพื่อทำโครงงานต่อในส่วนบทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้อง และบทที่ 3 วิธีการดำเนินการศึกษา ให้เสร็จสมบูรณ์พร้อมนำเสนอในสัปดาห์ถัดไป ซึ่งหัวข้อในบทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้อง มีดังต่อไปนี้         1. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอน 1.1 ความหมายของการเรียนการสอน 1.2 ความหมายของการจัดการเรียนรู้ 1.3 ทฤษฎีระบบการเรียนการสอน 2. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ออนไลน์  2.1 ระบบการเรียนการสอนออนไลน์ 2.2 นวัตกรรมการเรียนรู้ออนไลน์และตัวอย่าง 3. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับระบบอีเลิร์นนิง 3.1 นิยามระบบอีเลิร์นนิง 3.2 รูปแบบอีเลิร์นนิ่ง 3.3 องค์ประกอบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง 3.4 ข้อดีและข้อจํากัดของการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง 4.  เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง 4.1 การออกแบบการเรียนการสอน 4.2 การออกแบบการเรียนการสอน : ADDIE Model 5. เอก

ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 10

รูปภาพ
ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 10 วันที่ 26 สิงหาคม 2564           - เตรียมข้อสอบแบบตัวเลือก (ก.ข.ค.ง.) คนละ 5 ข้อ แบบถูกผิดคนละ 5 ข้อ ซึ่งสัปดาห์นี้อาจารย์ได้ขอสอนปฏิบัติพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง ในวันที่ 2 กันยายน 2564 อาจารย์ติดภารกิจ จะได้มีทักษะไปปฏิบัติพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง           - อาจารย์เริ่มสอนปฏิบัติการสาธิตผ่านเว็บไซต์ เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาเข้าใจในการทำงานเกี่ยวกับการพัฒนาบทเรียน E- learning และรู้จักเครื่องมือการใช้งานเบื้องต้น